Skip to main content

Mini - Project :: Currency Converter

หลังจากที่ห่างหายไปนาน วันนี้กลับมาพร้อมกับ Mini - Project สุดท้ายขอวิชา Software Development แล้วนะคะ เนื่องจาก Mini - Project นี้ได้มอบหมายให้สร้าง Java GUI application ร่วมกันกับเพื่อนอีกคน ซึ่งเราสองคนได้ตัดสินใจว่าจะทำ application สำหรับแปลงค่าเงิน ในตอนแรกเราวางแผนไว้ว่าอยากจะแปลงแค่เงินบาทกับค่าเงินต่างชาติในรูปแบบของ อัตราซื้อ - อัตราขาย แต่สุดท้ายก็ปรับให้เป็น application สำหรับแปลงค่าเงินทั้งหมด รวม 10 สกุลเงิน (ดอลลาร์สหรัฐ (USD), ปอนด์สเตอร์ลิง (GBP), ยูโร (EUR), ฟรังก์ (CHF), ดอลลาร์ออสเตรเลีย (AUD), เยน (JPY), วอน (KRW), หยวน (CNY), ดอลลาร์ฮ่องกง (HKD), รูเบิล (RUB)) แล้วก็ค่าเงินบาทนะคะ
ภายใน application ก็สามารถดูแนวโน้มของค่าเงินย้อนหลังได้ 7 วัน และยังมีความเป็นปัจจุบันของข้อมูลอีกด้วย


เริ่มต้น กลุ่มของเราเลือกใช้ข้อมูล API จาก Fixer ซึ่งจะให้ข้อมูลแบบ real-time และยังสามารถเรียกดูข้อมูลย้อนหลังได้ โดยข้อมูลที่ได้จะมาในรูปแบบ JSON base EUR currency ซึ่งเราก็ต้องแปลงค่าเงิน base ทุกครั้งที่เรียงใช้งาน
ส่วนต่อไปเป็นส่วนของ chart rate เงิน ที่ค่าเงินต่าง ๆ ซึ่งช่วยให้สะดวกต่อการเลือกดู โดยที่ไม่ต้องกดปุ่ม convert บ่อย ๆ
ส่วนสุดท้ายที่จะพูดถึงใน blog นี้ก็คือส่วนของ line chart ข้อมูลอัตราแลกเปลี่ยนย้อนหลัง โดยที่เราเลือกดึงข้อมูลอัตราแลกเปลี่ยนย้อนหลัง 7 วัน เพื่อให้เห็นแนวโน้มของอัตราแลกเปลี่ยนช่วงสั้น ๆ

สามารถดู code ทั้งหมดได้ที่ https://github.com/Manachanok/Currency-Converter

ขอขอบคุณ
สมาชิกในกลุ่ม

Comments

Popular posts from this blog

Calculator using Pygame vs PySimpleGUI

                                    Pygame                                                                                 PySimpleGUI                       เนื่องจากเราได้รับมอบหมายให้ทำเครืองคิดเลขโดยการใช้ทั้ง Pygame และ PySimpleGUI จึงเขียนบล็อกนี้ให้เห็นถึงความแตกต่างของใช้งานของทั้งสอง library ซึ่งเราจะพูดถึงก่อน Pygame กันก่อน         ก่อนจะสร้างเครื่องคิดเลขใน Pygame ได้ (ศึกษาคำสั่งต่าง ๆ ได้จาก pygame documentation )เราก็ต้องมาออกแบบฟังก์ชันพื้นฐานว่าต้องการอะไรในเครื่องคิดเลขของเราบ้าง(หน้าตาของเครื่องคิดเลข. ปุ่มกดต้องมีปุ่มอะไรบ้าง, ...) อันดับแรกเลย อ. อยากให้เราสร้าง class ของปุ่มกด ซึ่งเราก็ต้องกลับ...

A running light using TinkerCad's Circuits

Tinkercad is a free online collection of software tools for help people all over the world think, create and make. We're the ideal introduction to Autodesk, the leader in 3D desigm, engineering and entertainment software. Tinkercad        พูดสั้น ๆ ก็คือ Tinkercad เป็น online software ที่ช่วยออกแบบงานในรูปแบบเสมือนจริง ซึ่งงานเราจะใช้ Tinkercad ในการออกแบบไฟกะพริบกัน และเนื่องจากเป็นครั้งแรกที่ได้ทดลองใช้ Arduino program เพื่อสร้าง block สำหรับ 8-bit LED ที่ LED จะกะพริบจากซ้ายไปขวา จึงไปหาข้อมูลวิธีการใช้งานจนมาเจอ Channel ที่ชื่อ Autodesk Tikercad ใน Youtube ซึ่ง ส อนต่อวงจรที่ลักษณะคล้ายกับวงจรที่ต้องกา ร        สามารถทำได้ดังนี้        เลือก Sign in(สำหรับคนที่มี account อยู่แล้ว) หรือ Join now(สำหรับคนที่ยังไม่มี account ของ Tinkercad)         เลือก Circiut ทางซ้ายมือ แล้วเลือก Create new Circuit        เลือก Components จากทางขวา โดยต่อสายไฟเข้ากับช่อง 5V ขอ...

Game using Scratch

Scratch is a free programming language and online community where you can create your own interactive stories, games, and animations. Scratch         Scratch เป็น program ที่ใช้สร้าง animation หรือ game ซึ่งเด็กก็สามารถใช้งานได้(ผู้ใหญ่อย่างเราก็ใช้ได้นะ) โดยเราจะสร้างเกมมีชื่อว่า Knight Run         แนวคิดของ Knight Run เริ่มมาจากการที่อยากสร้างเกมที่เหมือนกับเกมไดโนเสาร์ของ Chrome ที่เล่น offline ระหว่างที่รอการเชื่อมต่อของ internet ส่วนตัวละครในเกม มาจาก sprite ที่มีอยู่ใน Scracth 2 อยู่แล้ว ใน theme castle วิธีการเล่นคือ จะให้ Knight กระโดดหลบ fire ด้วยการกดปุ่ม space bar ถ้าหาก Knight ถูก fire เกมก็จะจบลง สามารถเริ่มเกมใหม่ได้ ด้วยการกด space bar อีกครั้ง ขั้นตอนการสร้าง    Example You can try it. Follow this link  https://scratch.mit.edu/projects/240319275/